อ่านข้อมูลและเหตุผลที่ขัดแย้งกันระหว่างข้อมูลที่พบในพระไตรปิฎก คัมภีร์โบราณและจารึกกับที่พบในประเทศอินเดีย/เนปาล

โปรดคลิ้ก

[เหตุแห่งความสงสัย]

[พุทธโบราณสถาน]

[ภูมิศาสตร์]

[พุทธสถาปัตยกรรม]

[ วิถีชีวิตในสมัยพุทธกาล]

[ ภาษาสมัยพุทธกาล]

 <<<[หน้าบ้าน]

[ ขนบธรรมเนียมประเพณี]

[ ตำนาน/งศาวดาร]

[ ข้อสังเกตเพิ่มเติม]

<<<[หน้าแรกภาษาไทย]

 

ทำไมภาษาไทย-ลาวจึงมีการทับศัพท์หรือใช้ควบคู่กับภาษาบาลี  คือ มีทั้งคำไทยและคำบาลี ในความหมายเดียวกัน เช่น บาลีว่า รุกขะ   ไทยว่า  ต้นไม้, บาลีว่า นที ไทยว่า แม่น้ำ ใช้เฉพาะบาลีอย่างเดียว เช่น ธรรมชาติ ฯลฯ การนำคำว่า ว่า ที่ปกติในภาษาบาลีเวลาเล่าคำพูดของผู้อื่น จะเรียงไว้ท้ายคำที่พูด  มาไว้ท้ายคำพูดเหมือนภาษาบาลี เช่น บาลีเรียงว่า   เขา ดีแล้ว ว่า กล่าว ฯ  (นี่คือลักษณะการเรียงรูปประโยคพื้นฐานของภาษาบาลี)ไทยเรียงว่า   เขา กล่าว ว่า ดีแล้ว ฯ ซึ่งลักษณะการเรียงรูปประโยคแบบดังกล่าวที่พบในปัจจุบันบางครั้ง คือ  ภาษาไทย... ว่างั้น ภาษาลาว-อีสาน .... ว่าซั่น,    ....พะนะว่า, ....ว่าติ ...ว่าซั่มสา,...ว่าเด้....ผัดว่า,ผะวะ(ออกสำเนียงอีสานเอาเองนะครับ) เช่น บาลี : ภุญฺชินฺติฯ --> (เขา) กินแล้ว   ว่า (กล่าว) ฯ ... บาลี ใช้ อิติ ซึ่งแปลว่า ว่า คำเดียว ตามหลัง บอกให้รู้ว่าเป็นคำพูด ไทย : “กินแล้ว ว่างั้น ลาว : “กินแล้ว ว่าซั่น,   กินแล้ว พะนะว่า ฯลฯ

ประเพณีเผาศพแบบอินเดียกับแบบพุทธ ชาวไทย ลาว เขมร ทำพิธีเผาศพให้ไหม้จนเหลือแต่กระดูก แล้วเก็บกระดูกไว้บูชาส่วนหนึ่ง ฝังไว้ที่วัดส่วนหนึ่ง ตรงตามเรื่องราวที่ปรากฏในพระไตรปิฎก... แต่ที่อินเดีย จะนำศพไปเผาให้ไหม้แต่ไม่หมดแล้วปล่อยศพลอยแม่น้ำ โดย อาตม ศิโรศิริ

 

ว่าด้วยนกมัยหกะ (นกเขาคู)ที่ร้อง จุกๆ กู ที่มาของ "ของกูๆ" ตามเสียงร้อง และพระนำไปสอนเป็นปริศนาธรรม แสดงว่า เสียงร้องของนกเขา สอดคล้องกับเสียงในภาษาไทย คือ กู  หาก ชาวเมืองสาวัตถีมีคำศัพท์ว่า กู ที่มีความหมายว่า    “ เรา ข้าฯ  ( I )  ก็แสดงว่าเมืองสาวัตถีไม่ได้อยู่ที่อินเดีย เพราะที่อินเดียคำว่า กู หรือ คู (เสียงร้องของนกเขา) มิได้มีความหมายว่า เราข้าฯ ( I ) เลย .. (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ)  

ภาษาเขียนมีมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล การสังคายนาพระไตรปิฎกจารึกโดยใช้อักษรธรรม (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ)

พืชพันธุ์ไม้ในพระไตรปิฎก กว่า ๒๖๔ ชนิด ล้วนเป็นพืชที่มีอยู่ในเมืองไทยทั้งนั้น แม้ชื่อจะเปลี่ยนแปลงไปแต่พบเห็นได้ในปัจจุบัน  (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ)

ข้าวเหนียวมีในพระไตรปิฎก: ทำนาข้าวเหนียวในเมืองโกสัมพี และเมืองสาวัตถี  พระพุทธองค์และพระภิกษุในสมัยพระพุทธกาลเสวยและฉันข้าวเหนียว ทีหลักฐานปรากฏในพระไตรปิฎกหลายแห่ง กล่าวคือ  อรรถกถาวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ทุติยภาค วินัยปิฎกเล่มที่ 2 มหาวิภังค์ ทุติยภาค และวินัยปิฎกเล่มที่ 3 ภิกขุนีวิภังค์ โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ

"ทัศนะว่าด้วยค่านิยมเกี่ยวกับช้าง ความหมายของหิมพานต์ สังข์ สมุนไพร และระยะทางระหว่างเมืองในพระไตรปิฎก: สนทนากับ ดร.ชัยยงค์" (โดย อาจารย์อาตม ศิโรศิริ)

ขอเชิญท่านแสดงความคิดเห็นโต้แย้งและคัดค้านในเว้ปบอร์ด  

โปรดเยี่ยม BUDDHABIRTHPLACEในเว้ปบอร์ดพลังจิต

 



FastCounter by LinkExchange
Updated:  October 2003

Webmaster: chaiyong@iname.com